วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 16November 2015

Diary Note No.10


เนื้อหาที่เรียน

นำการบ้านที่ให้ในสัปดาห์ที่แล้ว มาติดไว้หน้าห้อง











ทำท่าบริหารสมอง
  1. นวดไหปลาร้า
  2. นวดขมับ
  3. นวดหู
  4. มือซ้ายหูขวา มือขวาหูซ้าย
  5. มือซ้ายแตะจมูก มือขวาจับติ่งหู
  6. มือซ้ายจีบ มือขวาแอล
  7. นับ 1-10
  8. ลูบและทุบ
  9. ผสานนิ้วผ่อนคลาย
อาจารย์แจกของรางวัลสำหรับผู้ที่ได้รับรางวัลเด็กดีมากที่สุด







ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้ของท่าบริหารสมอง ถ้าทำทุกวันแล้วจะฉลาดขั้น สมองจะทำงานได้ดี
 ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ตั้งใจเรียน มีความพร้อมในการเรียน แต่มีบางส่วนที่ยังชอบคุย ชอบเล่น ในขณะที่อาจารย์สอน
 ประเมินอาจารย์ 
  • อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย สุภาพ มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย ให้มีการให้คำแนะนำแก่นักศึกษา

Diary Note 9 November 2015

Diary Note No.9
 
เนื้อหาที่สอน
  1. สอบสอนการเขียนในเรื่องที่เตรียมมา (นิทาน) ของแต่ละกลุ่ม
  2. การเคลื่อนไหวและจังหวะ

Knowledge (ความรู้)
  1. สอบสอนการเรียนกระดาน  ในเรื่องที่เตรียมมา (นิทาน) ของหนูเรื่องโรงเรียนของฉัน

การสอนของแต่งละกลุ่ม
นิทานวันลอยกระทง


นิทานเรื่องกระต่ายของฉัน



เทคนิคในการสอนการแต่งนิทานร่วมกันกับเด็ก
ขั้นนำ
ใช้เพลง หรือคำถาม เช่น ถามเด็กว่า เด็กอยากไปโรงเรียนไป ทำอะไรบ้างค่ะ  
ที่โรงเรียน มีอะไรบ้างค่ะ  


ขั้นสอน
ครูควรใช้คำถามกระตุ้นเด็ก  เพื่อให้นิทานไปในทิศทาวเดียวกัน  และให้ถามซ้ำในประโยคที่กำลังเขียน เช่น นิทาน ของเรา เป็นต้น


ขั้นสรุป

อ่านให้เด็กฟัง  และใช้คำถาม 5W 1H คือใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่
ทำไม และ อย่างไร เพื่อทบทวนนิทานที่ช่วยกันแต่ง 


2. อาจารย์สอนการเคลื่อนไหว

-อาจารย์ให้แต่ละคนเคลื่อนไหวโดยห้ามทำซ้ำกัน  คนครบทุกคน
-ให้เคลื่อนไหวตามชื่อของตนเองทำท่าทาง
-ให้เคลื่อนไหวตามท่าทางของตนเอง จากด้านขวามือมาจนครบทุกคน และพร้อมบอกชื่อตนเอง
-อาจารย์ให้เคลื่อนไหวตามจินตนาการ และเดินตามจังหวะ
-แบ่งกลุ่มเคลื่อไหว กลุ่มละ  8คน  และทำท่าทางที่ อาจารย์ สั่งให้ทำ

สรุป  


การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของเด็กได้โดยอาจจะให้เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการของเด็ก 


Skill  (ทักษะ)  
การฝึกเขียนกระดานอย่างถูกวิธี
ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับเด็ก

Application (การประยุกต์)
เมื่อฝึกเขียนกระดานบ่อยๆ  เวลาที่ไปสอนเด็ก เราก็จะเขียนตัวหนังสือบนกระดานได้อย่างสวยงาม
 
Technical Education (เทคนิคการสอน)
ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
มีการส่งเสริมแรงเป็นระยะ

Evaluation (การประเมิน )

Self  ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา

Friend ตั้งใจเรียน  ช่วยกันทำกิจกรรม

Teacher  อาจารย์ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และฝึกให้นักศึกษาเกิดความรู้ด้วยตนเอง


Diary Note 2 November 2015

Diary Note No.8



เนื้อหาที่สอน
  1. บทบาทและร้องเพลง
  2. อาจารย์สาธิตการเขียนกระดานและนิทานร่วมกับเด็ก
  3. แบ่งกลุ่มฝึกเขียนกระดาน
  4. แต่งนิทานที่ใช้สอนเด็ก
 
 
Knowledge (ความรู้)
  1.  ทบทวนและร้องเพลง 
และมีอีกเพลง


Twinkle , Twinkle  ,Little star


Twikle , twinkle  ,little  star
How  I  wonder  what  you  are
Up  above  the  world  so  high
Like  a  diamond  in  the  sky


When  the  blazing  sun  is  gone
When  he  nothing  shines  upon
Then  you  show you  little  light
Twinkle  , twinkle  , all the night


Then  the traveler  in the dark
Thank you for your tiny spark
He could not see which way to go
If   you did  not  twinkle so


In the dark blue sky you  keep
And often through my cuotains peep
For  you never shut eye
Till the sun in the sky


And  as your  bright and tiny spark
Lights the traveler in the dark
Though  I  know not  what you are
Twinkle , twinkle  , little star



Twikle , twinkle  ,little  star
How  I  wonder  what  you  are
Up  above  the  world  so  high
Like  a  diamond  in  the  sky


Twinkle , twinkle , little star
How I wonder  what  you are
How  I wonder  what you are





 
2. อาจารย์สอนสาธิตการเขียนกระดาน และแต่งนิทานร่วมกับเด็ก
อาจารย์สาธิต  นิทานเรื่อง  ทะเลสวยงาม



3. แบ่งกลุ่มฝึกเขียนกระดาน
  หนูเขียนเรื่องโรงเรียนของฉัน
 
4.แต่งนิทานที่จะใช้สอนเด็ก
 
 
เทคนิคการเขียนกระดาน 
 
นั่งเฉียง  45 องศส  ไม่ควรนั่งบังกระกาน และถ้าหากเราเป็นคนเขียนคนแรก เราต้องเขียนบรรทัดบนสุด เพื่อจะได้ให้เพื่อนเขียนต่อได้
 
 Skill (ทักษะ) 
การฝึกเขียนกระดานที่ถูกวิธี

Application (การประยุกต์ใช้)
เมื่อฝึกเขียนบ่อยๆ เวลาที่ไปสอนเด็ก เราก็จะสามารถเขียนตัวหนังสือบนกระดานได้

Technical Education (เทคนิคการสอน)
ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
 
Evaluation (การประเมิน)
Self  ตั้งใจเรียน  เข้าเรียนตรงเวลา ร่วมทำกิจกรรมอย่างตั้งใจ
Friend  ตั้งใจเรียน  ช่วยกันทำกิจกรรม
Teacher   อาจารย์ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง  อาจารย์เป็นเพียงผู้แนะนำและเสริมแรงให้นักศึกษา เมื่อนักเรียนทำได้

 



วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Diary Note 26 October 2015

Diary Note No.7

เนื้อหาที่เรียน

อาจารย์แจกสีให้แก่นักศึกษาคนละ 1 กล่อง

กิจกรรมประดิษฐ์ไม้กายสิทธิ์





 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้ในเรื่องของการทำไม้กายสิทธิ์
 ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนมีความพร้อมในการเรียน ออกแบบไม้กายสิทธิ์กันได้อย่างสวยงาม และ ตั้งใจทำไม้กายสิทธิ์อย่างตั้งใจ
 ประเมินอาจารย์ 
  • อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างเต็มที่ ในการทำไม้กายสิทธิ์                            

Diary Note 19 October 2015

Diary Note No.6

เนื้อหาที่เรียน

กิจกรรมฟังเสียงเครื่องดนตรี

  1. ไวโอลิน
  2. แซ็กโซโฟน
  3. เม้าท์ออกแกน
  4. ฉาบ
  5. ทอมโบน
  6. กีต้าร์
  7. (จำไม่ได้ว่าเป็นเครื่องอะไร)
  8. เปียโน
  9. แตร
  10. ฟรุ๊ต
  11. นิ้งหน่อง
  12. ทรัมเป็ต
  13. กลองชุด
  14. เชลโล
  15. ปี่สก็อต
กิจกรรมฟังเสียงสัตว์
  1. สุนัข
  2. แมว
  3. หมู
  4. วัว
  5. ไก่ตัวผู้
  6. ม้า
  7. ไก่ตัวเมีย
  8. ลา
  9. แพะ
  10. เป็ด
  11. นก
กิจกรรมส่งสาร

แรดอย่างสงบ ตบเมื่อจำเป็น ตอแหลอย่างเยือกเย็น เพราะเราเป็นไฮโซ

กิจกรรมส่งสารโดยแบ่งกลุ่ม 5 คน

กิจกรรมแต่งคำคล้องจอง

อะไรเอ๋ยรูปร่างเล็ก  ไม่ถูกสเป็คกับแมวตัวใหญ่
ส่งเสียงจี๊ดๆ มีอยู่ทั่วไป  สีดำนั้นไซร้ลองทายดู

 เฉลย หนู

อะไรเอ๋ยมีหลายขนาด  เจ้าหนูชอบพลาดโดนจับกิน
เมื่อเป็นปลาทูมันทำหน้าฟฟิน  เหมียวเหมียวจะกินลองทายดู

เฉลย แมว
 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้ในการแต่งคำคล้องจอง เทคนิคในการแต่งคำคล้องจอง
 ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ตั้งใจเรียน มีความพร้อมในการเรียนที่ดี เข้าเรียนตรงเวลา
 ประเมินอาจารย์ 
  • อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย มีกิจกรรมให้เด็กทำก่อนเข้าเรียน เช่น เกม คำถามเป็นต้น อีกทั้ง อาจารย์เปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมอย่างเต็มที่    

Diary Note 5 October 2015

Diary Note No. 5

เนื้อหาที่เรียน

ทำกิจกรรมนักมายากลระดับโลก โดยมีคำถาม ถามนักศึกษาดังนี้

  1. เมื่อเราอยู่หลังเวที และกำลังแสดงโชว์ ตอนนั้นเรารู้สึกอย่างไร
  2. เมื่อเรากำลังโชว์มายากล และเรียกผู้ชมมามีส่วนร่วม เราจะเลือกใคร
  3. ถ้าเพื่อนจับผิดได้จะกระซิบบอกเพื่อนว่า
  4. กลับมาเข้าหลังม่าน หลังแสดงเสร็จ แล้วมองย้อนกลับไป เรารู้สึกอย่างไร
เฉลยกิจกรรมนักมายากลระดับโลก
  1. เรารู้สึกอย่างไรเวลาจะโกหก
  2. คนที่เลือกมาคือคนที่หลอกง่าย
  3. โกหกและโดนจับได้
  4. ความรู้สึกหลังจากโกหก

การเล่นเพื่อสิ่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

การเล่น
  • กระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
  • ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลินเพลิน ผ่อนคลาย
  • ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม                                                                                         
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น  
Piaget 
     กล่าวถึงพัฒนกาารเล่นของเด็กมี 3 ขั้นดังนี้
  1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play)      เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยตุลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
  2. ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play)      อายุ 1ปีครึ่ง-2ปี การเล่นไม่มีขอบเขต เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง จะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เล่นคนเดียวต่างคนต่างเล่น
  • ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play)
           
    อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาท สมมติ
                                                                              
ประเภทของเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสร้างสรรค์
  • การเล่นกลางแจ้ง
  • การเล่นในร่ม
 การเล่นในร่ม   
  • การเล่นตามมุมประสบการณ์
  • การเล่นสรรค์สร้าง      
 การเล่นสรรค์สร้าง
  •  การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี
  • ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
  • เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง
องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
  1.  สภาวะการเรียนรู้
  2.  พัฒนาการของการรู้คิด
  3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
  • เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
  • การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงเวลา
  • การจำแนกอย่างมีเหตุผล
 หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง    
  • ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
  • ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
  • มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
รูปแบบการสอนแบบ STEM
  • S = Science
  • T = Technology
  • E = Engineering
  • M = Mathematics 
อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 3 คน ทำกิจกรรมนักออกแบบอาคาร โดยมีอุปกรณ์ดังนี้
  1. ไม้จิ้มฟัน
  2. ดินน้ำมัน
 ความสูงที่ทำได้ 
  • ครั้งที่ 1 29 เซนติเมตร
  • ครั้งที่ 2 47 เซนติเมตร
  • ครั้งที่ 3 48 เซนติเมตร
ทำกิจกรรมเรือน้อยบรรทุกของ โดยมีอุปกรณ์ดังนี้
  1. กระดาษ 1 แผ่น
  2. ไม้เสียบลูกชิ้น 4 ไม้
     อาจารย์ให้สร้างเรือ 1 ลำ จากนั้น ให้นำมาลอยน้ำแล้วบรรทุกของ เรือกลุ่มใดลอยน้ำได้นาน และบรรทุกของได้ทุกชิ้น กลุ่มนั้นชนะ

ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้ในเรื่องของการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์  รู้ทฤษฎีของเพียเจย์ ว่ามีการพัฒนาการเล่นของเด็กมีกี่ขั้น  รวมไปถึงเรื่องของ องค์ประกอบการเล่นสรรค์สร้าง และ กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อนการสอน และ การเรียนรู้ 
 ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนมาตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน
 ประเมินอาจารย์ 
  • อาจารย์เด็กกายสุภาพเรียบร้อย มีเกมสนุกๆ มาให้นักศึกษาได้เล่นก่อนทำกิจกรรม อีกทั้ง อาจารย์ยังมีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย    

Diary Note 21 September 2015

Diary Note No.4

เนื้อหาที่เรียน

ทำกิจกรรมเรียกสมาธิให้กับนักศึกษา

  • เล่นเกม โดยให้นักศึกษา นับเลข 1 2 คนที่3 ให้ปรบมือ 4 5 6 คนที่7ให้ปรบมือ แล้วนับไปเรื่อยๆ
ทบทวนเพลง London Bridge is falling down


*London Bridge is falling down,
falling down,falling down.
London Bridge is falling down.My fair lady.

Build it up with sticks & stones,
sticks & stones,sticks & stones.
Build it up with sticks & stones,My fair lady.

Sticks & stones will all fall down,
all fall down,all fall down.
Sticks & stones will all fall down.My fair lady.

Build it up with wood & clay,
wood & clay,wood & clay.
Build it up with wood & clay,My fair lady.

Wood & clay will wash away,
wash away,wash away.
Wood and clay will wash away,My fair lady.

 Build it up with iron and steel,
iron and steel,iron and steel.
Build it up with iron and steel,My fair lady.

Iron and steel will bend and bow,
bend and bow,bend and bow.
Iron and steel will bend and bow.
My fair Lady. (*)

ร้องเพลงใหม่เพลง Mary Had A Little Lamb

Mary had a little lamb,
Little lamb, little lamb,
Mary had a little lamb.
It's fleece was white as snow.

Everywhere that Mary went,
Marry went, Marry went,
Everywhere that Mary went
The lamb was sure to go.

He followed her to school one day
School one day, school one day
He followed her to school one day
Which was against the rules.

He made the children laugh and play,
Laugh and play, laugh and  play,
He made the children laugh and play
to see the lamb at school.

And so the teacher turned it out,
Turned it out turned it out,
And so the teacher turned it out,
But still it lingered near.

"Does the lamb love Mary so?"
Love Mary so? Love Mary so ?
"Does the lamb love Mary so?"
The eager children cry.

"Mary loves the lamb. you know."
the lamb, you know, the lamb, you know
"Mary loves the lamb, you know.
The teacher did reply.

Mary had a little lamb,
Little lamb, little lamb,
Mary had a little lamb,
Its fleece was white as snow.

เทคนิคการสอน
   ขั้นนำ
     1.ร้องเพลง แล้วนำเข้าสู่บทเรียน
   ขั้นเตรียม
     2.ถามเด้กว่าวันนี้มีอะไรบ้าง เด็กๆ เห็นอะไรที่ครูเตรียมมา

ทำกิจกรรมดีไซเนอร์ระดับโลก
  • อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม แล้วให้ออกแบบชุดจากกระดาษหนังสือพิมพ์

นั่งฟังกฏกติการในการทำการแข่งขันประดิษฐ์ชุดจากกระดาษหนังสือพิมพ์


ดิฉันรู้สึกเป็นเกียรติเป็นอย่างมาก ที่ได้เป็นตัวแทนในการใส่ชุดประกวด อีกทั้งยังรู้สึกเหมือนโดนเพื่อนในกลุ่มแกล้งอีกด้วยค่ะ โดยการเอาเทปกาวแปะๆๆๆ แล้วดึงออกแบบแยบยนมาก


เสร็จแล้วค่ะ ชุดนี้มีชื่อว่า นกยูงรำแพน มีการผสมผสานกับอารยะธรรมไทย กับ กรีกโรมันค่ะ


ซ้อมโพส ซ้อมเดิน พร้อมประกวดแล้วค่ะ นี่คือการซ้อมท่าโพสค่ะ อลังการสุดๆ

ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้เรียนรู้เพลงใหม่ๆ สามารถนำไปใช้สอนในอนาคตได้
  • ได้ทักษะความคิดสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์ชุด และทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • ตอนแรกๆ เพื่อนไม่ค่อยมีสมาธิในการเรียน แต่พอทำกิจกรรม เพื่อนๆ ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมดีมาก
ประเมินอาจารย์
  • อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักศึกษา
  • อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่สนุกสนาน มีเพลงใหม่ๆ มาให้นักศึกษาได้ร้องทุกสัปดาห์