วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Diary Note 5 October 2015

Diary Note No. 5

เนื้อหาที่เรียน

ทำกิจกรรมนักมายากลระดับโลก โดยมีคำถาม ถามนักศึกษาดังนี้

  1. เมื่อเราอยู่หลังเวที และกำลังแสดงโชว์ ตอนนั้นเรารู้สึกอย่างไร
  2. เมื่อเรากำลังโชว์มายากล และเรียกผู้ชมมามีส่วนร่วม เราจะเลือกใคร
  3. ถ้าเพื่อนจับผิดได้จะกระซิบบอกเพื่อนว่า
  4. กลับมาเข้าหลังม่าน หลังแสดงเสร็จ แล้วมองย้อนกลับไป เรารู้สึกอย่างไร
เฉลยกิจกรรมนักมายากลระดับโลก
  1. เรารู้สึกอย่างไรเวลาจะโกหก
  2. คนที่เลือกมาคือคนที่หลอกง่าย
  3. โกหกและโดนจับได้
  4. ความรู้สึกหลังจากโกหก

การเล่นเพื่อสิ่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

การเล่น
  • กระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
  • ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลินเพลิน ผ่อนคลาย
  • ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม                                                                                         
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น  
Piaget 
     กล่าวถึงพัฒนกาารเล่นของเด็กมี 3 ขั้นดังนี้
  1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play)      เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยตุลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
  2. ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play)      อายุ 1ปีครึ่ง-2ปี การเล่นไม่มีขอบเขต เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง จะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เล่นคนเดียวต่างคนต่างเล่น
  • ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play)
           
    อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาท สมมติ
                                                                              
ประเภทของเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสร้างสรรค์
  • การเล่นกลางแจ้ง
  • การเล่นในร่ม
 การเล่นในร่ม   
  • การเล่นตามมุมประสบการณ์
  • การเล่นสรรค์สร้าง      
 การเล่นสรรค์สร้าง
  •  การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี
  • ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
  • เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง
องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
  1.  สภาวะการเรียนรู้
  2.  พัฒนาการของการรู้คิด
  3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
  • เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
  • การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงเวลา
  • การจำแนกอย่างมีเหตุผล
 หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง    
  • ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
  • ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
  • มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
รูปแบบการสอนแบบ STEM
  • S = Science
  • T = Technology
  • E = Engineering
  • M = Mathematics 
อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 3 คน ทำกิจกรรมนักออกแบบอาคาร โดยมีอุปกรณ์ดังนี้
  1. ไม้จิ้มฟัน
  2. ดินน้ำมัน
 ความสูงที่ทำได้ 
  • ครั้งที่ 1 29 เซนติเมตร
  • ครั้งที่ 2 47 เซนติเมตร
  • ครั้งที่ 3 48 เซนติเมตร
ทำกิจกรรมเรือน้อยบรรทุกของ โดยมีอุปกรณ์ดังนี้
  1. กระดาษ 1 แผ่น
  2. ไม้เสียบลูกชิ้น 4 ไม้
     อาจารย์ให้สร้างเรือ 1 ลำ จากนั้น ให้นำมาลอยน้ำแล้วบรรทุกของ เรือกลุ่มใดลอยน้ำได้นาน และบรรทุกของได้ทุกชิ้น กลุ่มนั้นชนะ

ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้ในเรื่องของการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์  รู้ทฤษฎีของเพียเจย์ ว่ามีการพัฒนาการเล่นของเด็กมีกี่ขั้น  รวมไปถึงเรื่องของ องค์ประกอบการเล่นสรรค์สร้าง และ กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อนการสอน และ การเรียนรู้ 
 ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนมาตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน
 ประเมินอาจารย์ 
  • อาจารย์เด็กกายสุภาพเรียบร้อย มีเกมสนุกๆ มาให้นักศึกษาได้เล่นก่อนทำกิจกรรม อีกทั้ง อาจารย์ยังมีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย    

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น