Diary Note 9 November 2015
Diary Note No.9
เนื้อหาที่สอน
- สอบสอนการเขียนในเรื่องที่เตรียมมา (นิทาน) ของแต่ละกลุ่ม
- การเคลื่อนไหวและจังหวะ
Knowledge (ความรู้)
- สอบสอนการเรียนกระดาน ในเรื่องที่เตรียมมา (นิทาน) ของหนูเรื่องโรงเรียนของฉัน
การสอนของแต่งละกลุ่ม
นิทานวันลอยกระทง
เทคนิคในการสอนการแต่งนิทานร่วมกันกับเด็ก
ขั้นนำ
ใช้เพลง หรือคำถาม เช่น ถามเด็กว่า เด็กอยากไปโรงเรียนไป ทำอะไรบ้างค่ะ
ที่โรงเรียน มีอะไรบ้างค่ะ
ขั้นสอน
ครูควรใช้คำถามกระตุ้นเด็ก เพื่อให้นิทานไปในทิศทาวเดียวกัน และให้ถามซ้ำในประโยคที่กำลังเขียน เช่น นิทาน ของเรา เป็นต้น
ขั้นสรุป
อ่านให้เด็กฟัง และใช้คำถาม 5W 1H คือใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่
ทำไม และ อย่างไร เพื่อทบทวนนิทานที่ช่วยกันแต่ง
2. อาจารย์สอนการเคลื่อนไหว
-อาจารย์ให้แต่ละคนเคลื่อนไหวโดยห้ามทำซ้ำกัน คนครบทุกคน
-ให้เคลื่อนไหวตามชื่อของตนเองทำท่าทาง
-ให้เคลื่อนไหวตามท่าทางของตนเอง จากด้านขวามือมาจนครบทุกคน และพร้อมบอกชื่อตนเอง
-อาจารย์ให้เคลื่อนไหวตามจินตนาการ และเดินตามจังหวะ
-แบ่งกลุ่มเคลื่อไหว กลุ่มละ 8คน และทำท่าทางที่ อาจารย์ สั่งให้ทำ
สรุป
การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของเด็กได้โดยอาจจะให้เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการของเด็ก
Skill (ทักษะ)
การฝึกเขียนกระดานอย่างถูกวิธี
ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับเด็ก
Application (การประยุกต์)
เมื่อฝึกเขียนกระดานบ่อยๆ เวลาที่ไปสอนเด็ก เราก็จะเขียนตัวหนังสือบนกระดานได้อย่างสวยงาม
Technical Education (เทคนิคการสอน)
ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
มีการส่งเสริมแรงเป็นระยะ
Evaluation (การประเมิน )
Self ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา
Friend ตั้งใจเรียน ช่วยกันทำกิจกรรม
Teacher อาจารย์ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และฝึกให้นักศึกษาเกิดความรู้ด้วยตนเอง
Diary Note No.9
เนื้อหาที่สอน
- สอบสอนการเขียนในเรื่องที่เตรียมมา (นิทาน) ของแต่ละกลุ่ม
- การเคลื่อนไหวและจังหวะ
Knowledge (ความรู้)
- สอบสอนการเรียนกระดาน ในเรื่องที่เตรียมมา (นิทาน) ของหนูเรื่องโรงเรียนของฉัน
การสอนของแต่งละกลุ่ม
นิทานวันลอยกระทง
เทคนิคในการสอนการแต่งนิทานร่วมกันกับเด็ก
ขั้นนำ
ใช้เพลง หรือคำถาม เช่น ถามเด็กว่า เด็กอยากไปโรงเรียนไป ทำอะไรบ้างค่ะ
ที่โรงเรียน มีอะไรบ้างค่ะ
ขั้นสอน
ครูควรใช้คำถามกระตุ้นเด็ก เพื่อให้นิทานไปในทิศทาวเดียวกัน และให้ถามซ้ำในประโยคที่กำลังเขียน เช่น นิทาน ของเรา เป็นต้น
ขั้นสรุป
อ่านให้เด็กฟัง และใช้คำถาม 5W 1H คือใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่
ทำไม และ อย่างไร เพื่อทบทวนนิทานที่ช่วยกันแต่ง
2. อาจารย์สอนการเคลื่อนไหว
-อาจารย์ให้แต่ละคนเคลื่อนไหวโดยห้ามทำซ้ำกัน คนครบทุกคน
-ให้เคลื่อนไหวตามชื่อของตนเองทำท่าทาง
-ให้เคลื่อนไหวตามท่าทางของตนเอง จากด้านขวามือมาจนครบทุกคน และพร้อมบอกชื่อตนเอง
-อาจารย์ให้เคลื่อนไหวตามจินตนาการ และเดินตามจังหวะ
-แบ่งกลุ่มเคลื่อไหว กลุ่มละ 8คน และทำท่าทางที่ อาจารย์ สั่งให้ทำ
สรุป
การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของเด็กได้โดยอาจจะให้เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการของเด็ก
Skill (ทักษะ)
การฝึกเขียนกระดานอย่างถูกวิธี
ฝึกทำกิจกรรมร่วมกับเด็ก
Application (การประยุกต์)
เมื่อฝึกเขียนกระดานบ่อยๆ เวลาที่ไปสอนเด็ก เราก็จะเขียนตัวหนังสือบนกระดานได้อย่างสวยงาม
Technical Education (เทคนิคการสอน)
ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
มีการส่งเสริมแรงเป็นระยะ
Evaluation (การประเมิน )
Self ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา
Friend ตั้งใจเรียน ช่วยกันทำกิจกรรม
Teacher อาจารย์ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และฝึกให้นักศึกษาเกิดความรู้ด้วยตนเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น